Thursday, March 1, 2007

Project 3 Cartoon rate

Project นี้เกิดจากการสังเกตเห็นว่า การ์ตูนญี่ปุ่น
ที่ขายกัน อยู่ทั่วไปนั้น มักจะใส่ซองพลาสติกไว้เสมอ
ทำให้ไม่สามารถรู้ได้ว่า การ์ตูนเรื่องนี้เป็นเรื่อง
เกี่ยวกับอะไร และมีเนื้อหาที่เหมาะสมหรือไม่
จึงคิดที่จะจัดประเภทของการ์ตูนญี่ปุ่น
รวมทั้งการจัดเรทให้การ์ตูนแต่ละเรื่องด้วย

Research

Action
Romantic
Comedy
Sports
Horror
Other
ALL
วิบูลย์กิจ
สยามอินเตอร์
บงกช
เนชั่น
บูรพัฒน์
อีคิวพลัส
คอมมิกเควส์
ยอดธิดา
อื่นๆ
1 2 3 4 5 6 7 8 9

ประเภทของการ์ตูน
แบ่งได้ ๖ ประเภท ดังนี้ ๑. การ์ตูนการเมือง (political cartoons)เป็นการ์ตูนที่มุ่งเน้น ล้อ เสียดสี ประชดประชันบุคคลหรือเหตุการณ์ทางการเมือง เพื่อกระตุ้นให้ผู้อ่านเกิดความคิดเห็นใหม่ ๆ ลักษณะของการ์ตูนชนิดนี้อาจมีคำบรรยายหรือไม่มีก็ได้ หรืออาจมีช่องเดียวหรือหลายช่องก็ได้ นักเขียนการ์ตูนการเมืองมีภาระหนักที่ต้องติดตามข่าวสารบ้านเมืองอย่างต่อเนื่อง จับประเด็นเหตุการณ์นั้นและแสดงความคิดเป็นการ์ตูนอย่างเฉียบคม นักเขียนการ์ตูนมักชำนาญในการเขียนการ์ตูนล้อเลียนบุคคล (caricature) นักเขียนการ์ตูนเมืองไทยที่แฟนการเมืองรู้จักกันดี เช่น ประยูร จรรยาวงษ์ หรือ "ศุขเล็ก" แห่ง น.ส.พ.ไทยรัฐ (เสียชีวิตเมื่อปลายปี พ.ศ.๒๕๓๕), ชัย ราชวัตร "ผู้ใหญ่มาแห่งทุ่งหมาเมิน" แห่ง น.ส.พ.ไทยรัฐ, อรุณ แห่ง น.ส.พ.เดอะเนชั่น ฯลฯ ๒. การ์ตูนขำขัน (gag cartoons)การ์ตูนที่เน้นความขบขันเป็นหลัก อาจเสนอภาพในช่องเดียวหรือหลายช่อง จะมีคำบรรยายหรือไม่มีก็ได้ ปกติมุขตลกของการ์ตูนชนิดนี้จะหยิบมาจากเหตุการณ์ในชีวิตประจำวัน ปัจจุบันการ์ตูนชนิดนี้กำลังได้รับความนิยมมากในสังคมไทย ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเจนคือ การ์ตูน "ขายหัวเราะ" ๓. การ์ตูนเรื่องยาว (comics or serial cartoons)การ์ตูนที่นำเสนอเป็นเรื่องราวที่มีความต่อเนื่องกันจนจบ มีคำบรรยายหรือบทสนทนาภายในภาพ การ์ตูนชนิดนี้ปรากฏอยู่ในนิตยสารและหนังสือพิมพ์เรียกว่า comics strips แต่ถ้านำมาพิมพ์รวมเล่มเรียกว่า comics books เช่น การ์ตูนเล่มของญี่ปุ่นและฝรั่ง การ์ตูนไทยที่นำเอาวรรณคดี นิยายพื้นบ้าน เรื่องจักร ๆ วงศ์ ๆ มาพิมพ์ขาย รวมทั้งการ์ตูนเล่มละบาท ก็จัดอยู่ในการ์ตูนประเภทนี้เช่นกัน ซึ่ง จุลศักดิ์ อมรเวช หรือ จุก เบี้ยวสกุล นักเขียนการ์ตูนชื่อดังในอดีต ได้รวมเรียกการ์ตูนไทยเหล่านี้ว่า "นิยายภาพ" ๔. การ์ตูนประกอบเรื่อง (illustrated cartoons)เป็นการ์ตูนที่ใช้ประกอบกับข้อเขียนอื่น ๆ ประกอบโฆษณาเพื่อขยายความ หรือเป็นการ์ตูนประกอบการศึกษา การ์ตูนชนิดนี้มักเป็นตัวการ์ตูนโดด ๆ ไม่มีเรื่องราวในตัวเอง ๕. การ์ตูนมีชีวิต (animated cartoons)หรือ ภาพยนตร์การ์ตูน เป็นการ์ตูนที่มนุษย์ใส่ชีวิตให้มีการเคลื่อนไหวได้ มีการลำดับภาพและเรื่องราวอย่างต่อเนื่องคล้ายกับภาพยนต์ เพียงแต่ตัวละครเป็นการ์ตูน ปัจจุบันหนังการ์ตูนแพร๋หลายออกไปอีกหลายสื่อ ทั้งหนังการ์ตูนทีวี หนังการ์ตูนโฆษณา วีดีโอการ์ตูน หรือใช้แสดงประกอบกับนักแสดงที่เป็นคนในภาพยนตร์ ตัวอย่างหนังการ์ตูนที่ฉายในเมืองไทย เช่น สุดสาคร, โดเรมอน, ไลอ้อนคิง, เซลเลอร์มูน เป็นต้น



ประเภทของมังงะ
ประเภทของมังงะที่จะกล่าวถึงต่อไปนี้สามารถนำไปใช้กับอะนิเมะและเกมได้ด้วย
[แก้] ตามกลุ่มเป้าหมาย
เด็ก
โชโจะ เด็กวัยรุ่นหญิง
โชเน็น เด็กวัยรุ่นชาย
โจะเซ (หรือ เรดิโคมิ) ผู้หญิง
เซเน็น ผู้ชาย
[แก้] ตามเนื้อหา
ดูเพิ่มที่ แนวการ์ตูน

[แก้] ตามรสนิยม
โชเน็นไอ
ยะโอะอิ
โชโจะไอ
ยุริ
โลลิคอน
[แก้] มังงะที่มีชื่อเสียง
[แก้] โชเน็น
ดราก้อนบอล
เซนต์เซย่า
สแลมดังก์
ซามูไรพเนจร
วันพีซ
ราชันย์แห่งภูต
เทพอสูรจิ้งจอกเงิน
นินจาคาถาโอ้โฮเฮะ
แขนกล คนแปรธาตุ
เทพมรณะ
เดธโน้ต
[แก้] โชโจะ
นานะ
เซเลอร์มูน
มาร์มาเลดบอย
สาวแกร่งแรงเกินร้อย (ฮานะโยริดังโงะ)
ปริศนาพิทักษ์โลก (พลีสเซฟมายเอิร์ธ)
อูเทนะ พลิกฟ้าตามหารัก (เรฟโวลูชันนารีเกิร์ลอุเทน่า)
AYA ตำนานนางฟ้า (อายาชิ โนะ เซเรส)
เรื่องธรรมดาของเธอกับฉัน (คาเรชิ คาโนโจะ โน จิโจ)
เสน่ห์สาวข้าวปั้น
สับขั้วมาลุ้นรัก (ฮานะซาคาริ โนะ คิมิทาจิ เอะ)
X พลังล้างโลก
[แก้] เซเน็น
3x3 Eyes
อากิร่า ไม่เหมือนคน
เบอร์เซิร์ก
เบลดออกดือิมมอร์ทอล
โกสอินเดอะเชล
โคซุเระโอกามิ
มอนสเตอร์
เฮลซิง
[แก้] ดูเพิ่ม
การ์ตูนญี่ปุ่น
อะนิเมะ
เกม
โดจินชิ
คอสเพลย์
นักเขียนการ์ตูนมังงะในไทย
[แก้] หนังสืออ้างอิง
Gravett, Paul. Manga: 60 Years of Japanese Comics. New York: Collins Design, 2004. ISBN 1856693910.
Schodt, Frederik L. Dreamland Japan: Writings on Modern Manga. Berkeley, Calif.: Stone Bridge Press, 1996. ISBN 188065623X.
Schodt, Frederik L. Manga! Manga!: The World of Japanese Comics. New York: Kodansha International, 1983. ISBN 870117521, ISBN 4770023057.
[แก้] แหล่งข้อมูลอื่น
เว็บไซต์ข้อมูล
Cartoon.co.th (ไทย)
Anime News Network - ฐานข้อมูลมังงะและอะนิเมะขนาดใหญ่ (อังกฤษ)
Anime University - History of Manga - ประวัติของมังงะ (อังกฤษ)
Manganews.net - ฐานข้อมูลมังงะขนาดใหญ่ ข่าว และลิงก์ไปยังกลุ่มสแกนเลชัน (อังกฤษ)
เว็บไซต์ข่าว
Manga Life (อังกฤษ)
Manga Jouhou (อังกฤษ)
Manga.3Yen (อังกฤษ)
Manga Reviewer (อังกฤษ)

แนวที่สามารถพบได้แค่ในอะนิเมะและมังงะได้แก่
บิโชโจะ: (ภาษาญีปุ่นหมายความว่า "เด็กสาวหน้าตาดี") อะนิเมะที่มีตัวละครหลักเป็นเด็กสาวหน้าตาสวยงาม เช่น เมจิกไนท์เรย์เอิร์ท
บิโชเน็น: (ภาษาญี่ปุ่นหมายความว่า "เด็กหนุ่มหน้าตาดี") อะนิเมะที่มีตัวละครหลักเป็นเด็กหนุ่มหน้าตาหล่อเหลาและท่าทางสง่างาม เช่น ฟูชิกิยูกิ
เอ็จจิ: มีรากมาจากตัวอักษร "H" ในภาษาญี่ปุ่นหมายว่า "ทะลึ่ง" อะนิเมะในแนวนี้จะมีมุขตลกทะลึ่งแบบผู้ใหญ่ และมีภาพวาบหวามแต่ไม่เข้าข่ายอนาจารเป็นจุดขาย ตัวอย่างเช่น บ้านพักอลเวง
เฮ็นไต: (ภาษาญี่ปุ่นหมายความว่า "เบี่ยงเบน" หรือ "ลามก") เป็นคำที่ใช้นอกประเทศญี่ปุ่นสำหรับเรียกอะนิเมะที่จัดได้ว่าเป็นสื่อลามกอนาจาร ในประเทศญี่ปุ่นเรียกอะนิมะประเภทนี้ว่า 18禁アニメ (อ่านว่า "จูฮาจิคินอะนิเมะ"; อะนิเมะสำหรับผู้ใหญ่อายุมากกว่า 18 ปี) หรือ エロアニメ (อ่านว่า "เอะโระอะนิเมะ"; มาจาก "erotic anime" แปลว่า "อะนิเมะที่กระตุ้นความรู้สึกทางเพศ) ตัวอย่างเช่น ลาบลูเกิร์ล)
เมะกะ: อะนิเมะที่มีหุ่นยนต์ยักษ์ เช่น โมบิลสูทกันดั้ม
อะนิเมะสำหรับเด็ก: มีกลุ่มเป้าหมายเป็นเด็กปฐมวัย ตัวอย่างเช่น โดราเอมอน
โชเน็น: อะนิเมะที่มีกลุ้มเป้าหมายเป็นเด็กผู้ชาย เช่น ดราก้อนบอล
โชโจะ: อะนิเมะที่มีกลุ่มเป้าหมายเป็นเด็กผู้หญิง เช่น เซเลอร์มูน
เซเน็น: อะนิเมะที่มีกลุ่มเป้าหมายเป็นวัยรุ่นชายตอนปลายถึงผู้ชายอายุประมาณ 20 ปี เช่น โอ้! มายก็อดเดส
โจะเซ: (ภาษาญี่ปุ่นหมายถึง "ผู้หญิงอายุน้อย") อะนิเมะที่มีกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้หญิงอายุประมาณ 20 ปี ตัวอย่างเช่น นานะ
สาวน้อยเวทมนตร์: แนวย่อยหนึ่งของอะนิเมะแนวโชโจะ มีตัวละครหลักเป็นเด็กผู้หญิงที่มีพลังวิเศษอย่างไดอย่างหนึ่ง เช่น การ์ดแคปเตอร์ซากุระ
มะโฮโชเน็น: เหมือนแนวสาวน้อยเวทมนตร์ แต่ตัวเอกเป็นผู้ชาย เช่น ดี.เอ็น.แองเจิล
โชโจะไอ/ยุริ: อะนิเมะเน้นความรักร่วมเพศระหว่างผู้หญิง เช่น สตรอเบอรีพานิก
โชเน็นไอ/ยะโอะอิ: อะนิเมะเน้นความรักร่วมเพศระหว่างผู้ชาย เช่น กราวิเทชัน
ดึงข้อมูลจาก "http://th.wikipedia.org/wiki/อะนิเมะ".
หมวดหมู่: อะนิเมะ
การ์ตูนไทย
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
Jump to: navigation, ค้นหา
การ์ตูนไทย ประวัติจากคำบอกเล่า เริ่มต้นจากเป็นการ์ตูนแนวนิยายพื้นบ้าน ผี และแนวจักร ๆ วงศ์ ๆ ราคาเล่มละหนึ่งบาท นักเขียนการ์ตูนที่มีชื่อเสียงสมัยนั้น เช่น จุก เบี้ยวสกุล ต่อมาเริ่มมีการ์ตูนแนวตลกสั้น ๆ ในลักษณะ การ์ตูน 3 ช่องจบ ออกมาเพิ่ม เช่น เบบี้ หนูจ๋า ขายหัวเราะ และ มหาสนุก
ภาพยนตร์เรื่องผีสามบาท นำมาจากการ์ตูนไทยในสมัยก่อน โดยเนื้อเรื่องมีผีสามตนจากการ์ตูน 3 เล่ม เท่ากับ 3 บาท จึงตั้งชื่อว่า ผีสามบาท
ส่วนการ์ตูนไทยในลักษณะมังงะอย่างที่พบเห็นทั่วไปในปัจจุบันนั้น น่าจะมีมาไม่ถึงยี่สิบปี โดยนิตยสารการ์ตูนไทยในแนวมังงะยุคบุกเบิกได้แก่ ไทคอมมิค (Thai Comic) ของสำนักพิมพ์วิบูลย์กิจ และ เอ-คอมมิค (a-comic)
จัดประเภท

Sketch 1

Work




No comments: