ที่ขายกัน อยู่ทั่วไปนั้น มักจะใส่ซองพลาสติกไว้เสมอ
ทำให้ไม่สามารถรู้ได้ว่า การ์ตูนเรื่องนี้เป็นเรื่อง
เกี่ยวกับอะไร และมีเนื้อหาที่เหมาะสมหรือไม่
จึงคิดที่จะจัดประเภทของการ์ตูนญี่ปุ่น
รวมทั้งการจัดเรทให้การ์ตูนแต่ละเรื่องด้วย
Research
Action
Romantic
Comedy
Sports
Horror
Other
ALL
วิบูลย์กิจ
สยามอินเตอร์
บงกช
เนชั่น
บูรพัฒน์
อีคิวพลัส
คอมมิกเควส์
ยอดธิดา
อื่นๆ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
ประเภทของการ์ตูน
แบ่งได้ ๖ ประเภท ดังนี้ ๑. การ์ตูนการเมือง (political cartoons)เป็นการ์ตูนที่มุ่งเน้น ล้อ เสียดสี ประชดประชันบุคคลหรือเหตุการณ์ทางการเมือง เพื่อกระตุ้นให้ผู้อ่านเกิดความคิดเห็นใหม่ ๆ ลักษณะของการ์ตูนชนิดนี้อาจมีคำบรรยายหรือไม่มีก็ได้ หรืออาจมีช่องเดียวหรือหลายช่องก็ได้ นักเขียนการ์ตูนการเมืองมีภาระหนักที่ต้องติดตามข่าวสารบ้านเมืองอย่างต่อเนื่อง จับประเด็นเหตุการณ์นั้นและแสดงความคิดเป็นการ์ตูนอย่างเฉียบคม นักเขียนการ์ตูนมักชำนาญในการเขียนการ์ตูนล้อเลียนบุคคล (caricature) นักเขียนการ์ตูนเมืองไทยที่แฟนการเมืองรู้จักกันดี เช่น ประยูร จรรยาวงษ์ หรือ "ศุขเล็ก" แห่ง น.ส.พ.ไทยรัฐ (เสียชีวิตเมื่อปลายปี พ.ศ.๒๕๓๕), ชัย ราชวัตร "ผู้ใหญ่มาแห่งทุ่งหมาเมิน" แห่ง น.ส.พ.ไทยรัฐ, อรุณ แห่ง น.ส.พ.เดอะเนชั่น ฯลฯ ๒. การ์ตูนขำขัน (gag cartoons)การ์ตูนที่เน้นความขบขันเป็นหลัก อาจเสนอภาพในช่องเดียวหรือหลายช่อง จะมีคำบรรยายหรือไม่มีก็ได้ ปกติมุขตลกของการ์ตูนชนิดนี้จะหยิบมาจากเหตุการณ์ในชีวิตประจำวัน ปัจจุบันการ์ตูนชนิดนี้กำลังได้รับความนิยมมากในสังคมไทย ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเจนคือ การ์ตูน "ขายหัวเราะ" ๓. การ์ตูนเรื่องยาว (comics or serial cartoons)การ์ตูนที่นำเสนอเป็นเรื่องราวที่มีความต่อเนื่องกันจนจบ มีคำบรรยายหรือบทสนทนาภายในภาพ การ์ตูนชนิดนี้ปรากฏอยู่ในนิตยสารและหนังสือพิมพ์เรียกว่า comics strips แต่ถ้านำมาพิมพ์รวมเล่มเรียกว่า comics books เช่น การ์ตูนเล่มของญี่ปุ่นและฝรั่ง การ์ตูนไทยที่นำเอาวรรณคดี นิยายพื้นบ้าน เรื่องจักร ๆ วงศ์ ๆ มาพิมพ์ขาย รวมทั้งการ์ตูนเล่มละบาท ก็จัดอยู่ในการ์ตูนประเภทนี้เช่นกัน ซึ่ง จุลศักดิ์ อมรเวช หรือ จุก เบี้ยวสกุล นักเขียนการ์ตูนชื่อดังในอดีต ได้รวมเรียกการ์ตูนไทยเหล่านี้ว่า "นิยายภาพ" ๔. การ์ตูนประกอบเรื่อง (illustrated cartoons)เป็นการ์ตูนที่ใช้ประกอบกับข้อเขียนอื่น ๆ ประกอบโฆษณาเพื่อขยายความ หรือเป็นการ์ตูนประกอบการศึกษา การ์ตูนชนิดนี้มักเป็นตัวการ์ตูนโดด ๆ ไม่มีเรื่องราวในตัวเอง ๕. การ์ตูนมีชีวิต (animated cartoons)หรือ ภาพยนตร์การ์ตูน เป็นการ์ตูนที่มนุษย์ใส่ชีวิตให้มีการเคลื่อนไหวได้ มีการลำดับภาพและเรื่องราวอย่างต่อเนื่องคล้ายกับภาพยนต์ เพียงแต่ตัวละครเป็นการ์ตูน ปัจจุบันหนังการ์ตูนแพร๋หลายออกไปอีกหลายสื่อ ทั้งหนังการ์ตูนทีวี หนังการ์ตูนโฆษณา วีดีโอการ์ตูน หรือใช้แสดงประกอบกับนักแสดงที่เป็นคนในภาพยนตร์ ตัวอย่างหนังการ์ตูนที่ฉายในเมืองไทย เช่น สุดสาคร, โดเรมอน, ไลอ้อนคิง, เซลเลอร์มูน เป็นต้น
ประเภทของมังงะ
ประเภทของมังงะที่จะกล่าวถึงต่อไปนี้สามารถนำไปใช้กับอะนิเมะและเกมได้ด้วย
[แก้] ตามกลุ่มเป้าหมาย
เด็ก
โชโจะ เด็กวัยรุ่นหญิง
โชเน็น เด็กวัยรุ่นชาย
โจะเซ (หรือ เรดิโคมิ) ผู้หญิง
เซเน็น ผู้ชาย
[แก้] ตามเนื้อหา
ดูเพิ่มที่ แนวการ์ตูน
[แก้] ตามรสนิยม
โชเน็นไอ
ยะโอะอิ
โชโจะไอ
ยุริ
โลลิคอน
[แก้] มังงะที่มีชื่อเสียง
[แก้] โชเน็น
ดราก้อนบอล
เซนต์เซย่า
สแลมดังก์
ซามูไรพเนจร
วันพีซ
ราชันย์แห่งภูต
เทพอสูรจิ้งจอกเงิน
นินจาคาถาโอ้โฮเฮะ
แขนกล คนแปรธาตุ
เทพมรณะ
เดธโน้ต
[แก้] โชโจะ
นานะ
เซเลอร์มูน
มาร์มาเลดบอย
สาวแกร่งแรงเกินร้อย (ฮานะโยริดังโงะ)
ปริศนาพิทักษ์โลก (พลีสเซฟมายเอิร์ธ)
อูเทนะ พลิกฟ้าตามหารัก (เรฟโวลูชันนารีเกิร์ลอุเทน่า)
AYA ตำนานนางฟ้า (อายาชิ โนะ เซเรส)
เรื่องธรรมดาของเธอกับฉัน (คาเรชิ คาโนโจะ โน จิโจ)
เสน่ห์สาวข้าวปั้น
สับขั้วมาลุ้นรัก (ฮานะซาคาริ โนะ คิมิทาจิ เอะ)
X พลังล้างโลก
[แก้] เซเน็น
3x3 Eyes
อากิร่า ไม่เหมือนคน
เบอร์เซิร์ก
เบลดออกดือิมมอร์ทอล
โกสอินเดอะเชล
โคซุเระโอกามิ
มอนสเตอร์
เฮลซิง
[แก้] ดูเพิ่ม
การ์ตูนญี่ปุ่น
อะนิเมะ
เกม
โดจินชิ
คอสเพลย์
นักเขียนการ์ตูนมังงะในไทย
[แก้] หนังสืออ้างอิง
Gravett, Paul. Manga: 60 Years of Japanese Comics. New York: Collins Design, 2004. ISBN 1856693910.
Schodt, Frederik L. Dreamland Japan: Writings on Modern Manga. Berkeley, Calif.: Stone Bridge Press, 1996. ISBN 188065623X.
Schodt, Frederik L. Manga! Manga!: The World of Japanese Comics. New York: Kodansha International, 1983. ISBN 870117521, ISBN 4770023057.
[แก้] แหล่งข้อมูลอื่น
เว็บไซต์ข้อมูล
Cartoon.co.th (ไทย)
Anime News Network - ฐานข้อมูลมังงะและอะนิเมะขนาดใหญ่ (อังกฤษ)
Anime University - History of Manga - ประวัติของมังงะ (อังกฤษ)
Manganews.net - ฐานข้อมูลมังงะขนาดใหญ่ ข่าว และลิงก์ไปยังกลุ่มสแกนเลชัน (อังกฤษ)
เว็บไซต์ข่าว
Manga Life (อังกฤษ)
Manga Jouhou (อังกฤษ)
Manga.3Yen (อังกฤษ)
Manga Reviewer (อังกฤษ)
แนวที่สามารถพบได้แค่ในอะนิเมะและมังงะได้แก่
บิโชโจะ: (ภาษาญีปุ่นหมายความว่า "เด็กสาวหน้าตาดี") อะนิเมะที่มีตัวละครหลักเป็นเด็กสาวหน้าตาสวยงาม เช่น เมจิกไนท์เรย์เอิร์ท
บิโชเน็น: (ภาษาญี่ปุ่นหมายความว่า "เด็กหนุ่มหน้าตาดี") อะนิเมะที่มีตัวละครหลักเป็นเด็กหนุ่มหน้าตาหล่อเหลาและท่าทางสง่างาม เช่น ฟูชิกิยูกิ
เอ็จจิ: มีรากมาจากตัวอักษร "H" ในภาษาญี่ปุ่นหมายว่า "ทะลึ่ง" อะนิเมะในแนวนี้จะมีมุขตลกทะลึ่งแบบผู้ใหญ่ และมีภาพวาบหวามแต่ไม่เข้าข่ายอนาจารเป็นจุดขาย ตัวอย่างเช่น บ้านพักอลเวง
เฮ็นไต: (ภาษาญี่ปุ่นหมายความว่า "เบี่ยงเบน" หรือ "ลามก") เป็นคำที่ใช้นอกประเทศญี่ปุ่นสำหรับเรียกอะนิเมะที่จัดได้ว่าเป็นสื่อลามกอนาจาร ในประเทศญี่ปุ่นเรียกอะนิมะประเภทนี้ว่า 18禁アニメ (อ่านว่า "จูฮาจิคินอะนิเมะ"; อะนิเมะสำหรับผู้ใหญ่อายุมากกว่า 18 ปี) หรือ エロアニメ (อ่านว่า "เอะโระอะนิเมะ"; มาจาก "erotic anime" แปลว่า "อะนิเมะที่กระตุ้นความรู้สึกทางเพศ) ตัวอย่างเช่น ลาบลูเกิร์ล)
เมะกะ: อะนิเมะที่มีหุ่นยนต์ยักษ์ เช่น โมบิลสูทกันดั้ม
อะนิเมะสำหรับเด็ก: มีกลุ่มเป้าหมายเป็นเด็กปฐมวัย ตัวอย่างเช่น โดราเอมอน
โชเน็น: อะนิเมะที่มีกลุ้มเป้าหมายเป็นเด็กผู้ชาย เช่น ดราก้อนบอล
โชโจะ: อะนิเมะที่มีกลุ่มเป้าหมายเป็นเด็กผู้หญิง เช่น เซเลอร์มูน
เซเน็น: อะนิเมะที่มีกลุ่มเป้าหมายเป็นวัยรุ่นชายตอนปลายถึงผู้ชายอายุประมาณ 20 ปี เช่น โอ้! มายก็อดเดส
โจะเซ: (ภาษาญี่ปุ่นหมายถึง "ผู้หญิงอายุน้อย") อะนิเมะที่มีกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้หญิงอายุประมาณ 20 ปี ตัวอย่างเช่น นานะ
สาวน้อยเวทมนตร์: แนวย่อยหนึ่งของอะนิเมะแนวโชโจะ มีตัวละครหลักเป็นเด็กผู้หญิงที่มีพลังวิเศษอย่างไดอย่างหนึ่ง เช่น การ์ดแคปเตอร์ซากุระ
มะโฮโชเน็น: เหมือนแนวสาวน้อยเวทมนตร์ แต่ตัวเอกเป็นผู้ชาย เช่น ดี.เอ็น.แองเจิล
โชโจะไอ/ยุริ: อะนิเมะเน้นความรักร่วมเพศระหว่างผู้หญิง เช่น สตรอเบอรีพานิก
โชเน็นไอ/ยะโอะอิ: อะนิเมะเน้นความรักร่วมเพศระหว่างผู้ชาย เช่น กราวิเทชัน
ดึงข้อมูลจาก "http://th.wikipedia.org/wiki/à¸à¸°à¸™à¸´à¹€à¸¡à¸°".
หมวดหมู่: อะนิเมะ
การ์ตูนไทย
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
Jump to: navigation, ค้นหา
การ์ตูนไทย ประวัติจากคำบอกเล่า เริ่มต้นจากเป็นการ์ตูนแนวนิยายพื้นบ้าน ผี และแนวจักร ๆ วงศ์ ๆ ราคาเล่มละหนึ่งบาท นักเขียนการ์ตูนที่มีชื่อเสียงสมัยนั้น เช่น จุก เบี้ยวสกุล ต่อมาเริ่มมีการ์ตูนแนวตลกสั้น ๆ ในลักษณะ การ์ตูน 3 ช่องจบ ออกมาเพิ่ม เช่น เบบี้ หนูจ๋า ขายหัวเราะ และ มหาสนุก
ภาพยนตร์เรื่องผีสามบาท นำมาจากการ์ตูนไทยในสมัยก่อน โดยเนื้อเรื่องมีผีสามตนจากการ์ตูน 3 เล่ม เท่ากับ 3 บาท จึงตั้งชื่อว่า ผีสามบาท
ส่วนการ์ตูนไทยในลักษณะมังงะอย่างที่พบเห็นทั่วไปในปัจจุบันนั้น น่าจะมีมาไม่ถึงยี่สิบปี โดยนิตยสารการ์ตูนไทยในแนวมังงะยุคบุกเบิกได้แก่ ไทคอมมิค (Thai Comic) ของสำนักพิมพ์วิบูลย์กิจ และ เอ-คอมมิค (a-comic)
Research
Action
Romantic
Comedy
Sports
Horror
Other
ALL
วิบูลย์กิจ
สยามอินเตอร์
บงกช
เนชั่น
บูรพัฒน์
อีคิวพลัส
คอมมิกเควส์
ยอดธิดา
อื่นๆ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
ประเภทของการ์ตูน
แบ่งได้ ๖ ประเภท ดังนี้ ๑. การ์ตูนการเมือง (political cartoons)เป็นการ์ตูนที่มุ่งเน้น ล้อ เสียดสี ประชดประชันบุคคลหรือเหตุการณ์ทางการเมือง เพื่อกระตุ้นให้ผู้อ่านเกิดความคิดเห็นใหม่ ๆ ลักษณะของการ์ตูนชนิดนี้อาจมีคำบรรยายหรือไม่มีก็ได้ หรืออาจมีช่องเดียวหรือหลายช่องก็ได้ นักเขียนการ์ตูนการเมืองมีภาระหนักที่ต้องติดตามข่าวสารบ้านเมืองอย่างต่อเนื่อง จับประเด็นเหตุการณ์นั้นและแสดงความคิดเป็นการ์ตูนอย่างเฉียบคม นักเขียนการ์ตูนมักชำนาญในการเขียนการ์ตูนล้อเลียนบุคคล (caricature) นักเขียนการ์ตูนเมืองไทยที่แฟนการเมืองรู้จักกันดี เช่น ประยูร จรรยาวงษ์ หรือ "ศุขเล็ก" แห่ง น.ส.พ.ไทยรัฐ (เสียชีวิตเมื่อปลายปี พ.ศ.๒๕๓๕), ชัย ราชวัตร "ผู้ใหญ่มาแห่งทุ่งหมาเมิน" แห่ง น.ส.พ.ไทยรัฐ, อรุณ แห่ง น.ส.พ.เดอะเนชั่น ฯลฯ ๒. การ์ตูนขำขัน (gag cartoons)การ์ตูนที่เน้นความขบขันเป็นหลัก อาจเสนอภาพในช่องเดียวหรือหลายช่อง จะมีคำบรรยายหรือไม่มีก็ได้ ปกติมุขตลกของการ์ตูนชนิดนี้จะหยิบมาจากเหตุการณ์ในชีวิตประจำวัน ปัจจุบันการ์ตูนชนิดนี้กำลังได้รับความนิยมมากในสังคมไทย ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเจนคือ การ์ตูน "ขายหัวเราะ" ๓. การ์ตูนเรื่องยาว (comics or serial cartoons)การ์ตูนที่นำเสนอเป็นเรื่องราวที่มีความต่อเนื่องกันจนจบ มีคำบรรยายหรือบทสนทนาภายในภาพ การ์ตูนชนิดนี้ปรากฏอยู่ในนิตยสารและหนังสือพิมพ์เรียกว่า comics strips แต่ถ้านำมาพิมพ์รวมเล่มเรียกว่า comics books เช่น การ์ตูนเล่มของญี่ปุ่นและฝรั่ง การ์ตูนไทยที่นำเอาวรรณคดี นิยายพื้นบ้าน เรื่องจักร ๆ วงศ์ ๆ มาพิมพ์ขาย รวมทั้งการ์ตูนเล่มละบาท ก็จัดอยู่ในการ์ตูนประเภทนี้เช่นกัน ซึ่ง จุลศักดิ์ อมรเวช หรือ จุก เบี้ยวสกุล นักเขียนการ์ตูนชื่อดังในอดีต ได้รวมเรียกการ์ตูนไทยเหล่านี้ว่า "นิยายภาพ" ๔. การ์ตูนประกอบเรื่อง (illustrated cartoons)เป็นการ์ตูนที่ใช้ประกอบกับข้อเขียนอื่น ๆ ประกอบโฆษณาเพื่อขยายความ หรือเป็นการ์ตูนประกอบการศึกษา การ์ตูนชนิดนี้มักเป็นตัวการ์ตูนโดด ๆ ไม่มีเรื่องราวในตัวเอง ๕. การ์ตูนมีชีวิต (animated cartoons)หรือ ภาพยนตร์การ์ตูน เป็นการ์ตูนที่มนุษย์ใส่ชีวิตให้มีการเคลื่อนไหวได้ มีการลำดับภาพและเรื่องราวอย่างต่อเนื่องคล้ายกับภาพยนต์ เพียงแต่ตัวละครเป็นการ์ตูน ปัจจุบันหนังการ์ตูนแพร๋หลายออกไปอีกหลายสื่อ ทั้งหนังการ์ตูนทีวี หนังการ์ตูนโฆษณา วีดีโอการ์ตูน หรือใช้แสดงประกอบกับนักแสดงที่เป็นคนในภาพยนตร์ ตัวอย่างหนังการ์ตูนที่ฉายในเมืองไทย เช่น สุดสาคร, โดเรมอน, ไลอ้อนคิง, เซลเลอร์มูน เป็นต้น
ประเภทของมังงะ
ประเภทของมังงะที่จะกล่าวถึงต่อไปนี้สามารถนำไปใช้กับอะนิเมะและเกมได้ด้วย
[แก้] ตามกลุ่มเป้าหมาย
เด็ก
โชโจะ เด็กวัยรุ่นหญิง
โชเน็น เด็กวัยรุ่นชาย
โจะเซ (หรือ เรดิโคมิ) ผู้หญิง
เซเน็น ผู้ชาย
[แก้] ตามเนื้อหา
ดูเพิ่มที่ แนวการ์ตูน
[แก้] ตามรสนิยม
โชเน็นไอ
ยะโอะอิ
โชโจะไอ
ยุริ
โลลิคอน
[แก้] มังงะที่มีชื่อเสียง
[แก้] โชเน็น
ดราก้อนบอล
เซนต์เซย่า
สแลมดังก์
ซามูไรพเนจร
วันพีซ
ราชันย์แห่งภูต
เทพอสูรจิ้งจอกเงิน
นินจาคาถาโอ้โฮเฮะ
แขนกล คนแปรธาตุ
เทพมรณะ
เดธโน้ต
[แก้] โชโจะ
นานะ
เซเลอร์มูน
มาร์มาเลดบอย
สาวแกร่งแรงเกินร้อย (ฮานะโยริดังโงะ)
ปริศนาพิทักษ์โลก (พลีสเซฟมายเอิร์ธ)
อูเทนะ พลิกฟ้าตามหารัก (เรฟโวลูชันนารีเกิร์ลอุเทน่า)
AYA ตำนานนางฟ้า (อายาชิ โนะ เซเรส)
เรื่องธรรมดาของเธอกับฉัน (คาเรชิ คาโนโจะ โน จิโจ)
เสน่ห์สาวข้าวปั้น
สับขั้วมาลุ้นรัก (ฮานะซาคาริ โนะ คิมิทาจิ เอะ)
X พลังล้างโลก
[แก้] เซเน็น
3x3 Eyes
อากิร่า ไม่เหมือนคน
เบอร์เซิร์ก
เบลดออกดือิมมอร์ทอล
โกสอินเดอะเชล
โคซุเระโอกามิ
มอนสเตอร์
เฮลซิง
[แก้] ดูเพิ่ม
การ์ตูนญี่ปุ่น
อะนิเมะ
เกม
โดจินชิ
คอสเพลย์
นักเขียนการ์ตูนมังงะในไทย
[แก้] หนังสืออ้างอิง
Gravett, Paul. Manga: 60 Years of Japanese Comics. New York: Collins Design, 2004. ISBN 1856693910.
Schodt, Frederik L. Dreamland Japan: Writings on Modern Manga. Berkeley, Calif.: Stone Bridge Press, 1996. ISBN 188065623X.
Schodt, Frederik L. Manga! Manga!: The World of Japanese Comics. New York: Kodansha International, 1983. ISBN 870117521, ISBN 4770023057.
[แก้] แหล่งข้อมูลอื่น
เว็บไซต์ข้อมูล
Cartoon.co.th (ไทย)
Anime News Network - ฐานข้อมูลมังงะและอะนิเมะขนาดใหญ่ (อังกฤษ)
Anime University - History of Manga - ประวัติของมังงะ (อังกฤษ)
Manganews.net - ฐานข้อมูลมังงะขนาดใหญ่ ข่าว และลิงก์ไปยังกลุ่มสแกนเลชัน (อังกฤษ)
เว็บไซต์ข่าว
Manga Life (อังกฤษ)
Manga Jouhou (อังกฤษ)
Manga.3Yen (อังกฤษ)
Manga Reviewer (อังกฤษ)
แนวที่สามารถพบได้แค่ในอะนิเมะและมังงะได้แก่
บิโชโจะ: (ภาษาญีปุ่นหมายความว่า "เด็กสาวหน้าตาดี") อะนิเมะที่มีตัวละครหลักเป็นเด็กสาวหน้าตาสวยงาม เช่น เมจิกไนท์เรย์เอิร์ท
บิโชเน็น: (ภาษาญี่ปุ่นหมายความว่า "เด็กหนุ่มหน้าตาดี") อะนิเมะที่มีตัวละครหลักเป็นเด็กหนุ่มหน้าตาหล่อเหลาและท่าทางสง่างาม เช่น ฟูชิกิยูกิ
เอ็จจิ: มีรากมาจากตัวอักษร "H" ในภาษาญี่ปุ่นหมายว่า "ทะลึ่ง" อะนิเมะในแนวนี้จะมีมุขตลกทะลึ่งแบบผู้ใหญ่ และมีภาพวาบหวามแต่ไม่เข้าข่ายอนาจารเป็นจุดขาย ตัวอย่างเช่น บ้านพักอลเวง
เฮ็นไต: (ภาษาญี่ปุ่นหมายความว่า "เบี่ยงเบน" หรือ "ลามก") เป็นคำที่ใช้นอกประเทศญี่ปุ่นสำหรับเรียกอะนิเมะที่จัดได้ว่าเป็นสื่อลามกอนาจาร ในประเทศญี่ปุ่นเรียกอะนิมะประเภทนี้ว่า 18禁アニメ (อ่านว่า "จูฮาจิคินอะนิเมะ"; อะนิเมะสำหรับผู้ใหญ่อายุมากกว่า 18 ปี) หรือ エロアニメ (อ่านว่า "เอะโระอะนิเมะ"; มาจาก "erotic anime" แปลว่า "อะนิเมะที่กระตุ้นความรู้สึกทางเพศ) ตัวอย่างเช่น ลาบลูเกิร์ล)
เมะกะ: อะนิเมะที่มีหุ่นยนต์ยักษ์ เช่น โมบิลสูทกันดั้ม
อะนิเมะสำหรับเด็ก: มีกลุ่มเป้าหมายเป็นเด็กปฐมวัย ตัวอย่างเช่น โดราเอมอน
โชเน็น: อะนิเมะที่มีกลุ้มเป้าหมายเป็นเด็กผู้ชาย เช่น ดราก้อนบอล
โชโจะ: อะนิเมะที่มีกลุ่มเป้าหมายเป็นเด็กผู้หญิง เช่น เซเลอร์มูน
เซเน็น: อะนิเมะที่มีกลุ่มเป้าหมายเป็นวัยรุ่นชายตอนปลายถึงผู้ชายอายุประมาณ 20 ปี เช่น โอ้! มายก็อดเดส
โจะเซ: (ภาษาญี่ปุ่นหมายถึง "ผู้หญิงอายุน้อย") อะนิเมะที่มีกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้หญิงอายุประมาณ 20 ปี ตัวอย่างเช่น นานะ
สาวน้อยเวทมนตร์: แนวย่อยหนึ่งของอะนิเมะแนวโชโจะ มีตัวละครหลักเป็นเด็กผู้หญิงที่มีพลังวิเศษอย่างไดอย่างหนึ่ง เช่น การ์ดแคปเตอร์ซากุระ
มะโฮโชเน็น: เหมือนแนวสาวน้อยเวทมนตร์ แต่ตัวเอกเป็นผู้ชาย เช่น ดี.เอ็น.แองเจิล
โชโจะไอ/ยุริ: อะนิเมะเน้นความรักร่วมเพศระหว่างผู้หญิง เช่น สตรอเบอรีพานิก
โชเน็นไอ/ยะโอะอิ: อะนิเมะเน้นความรักร่วมเพศระหว่างผู้ชาย เช่น กราวิเทชัน
ดึงข้อมูลจาก "http://th.wikipedia.org/wiki/à¸à¸°à¸™à¸´à¹€à¸¡à¸°".
หมวดหมู่: อะนิเมะ
การ์ตูนไทย
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
Jump to: navigation, ค้นหา
การ์ตูนไทย ประวัติจากคำบอกเล่า เริ่มต้นจากเป็นการ์ตูนแนวนิยายพื้นบ้าน ผี และแนวจักร ๆ วงศ์ ๆ ราคาเล่มละหนึ่งบาท นักเขียนการ์ตูนที่มีชื่อเสียงสมัยนั้น เช่น จุก เบี้ยวสกุล ต่อมาเริ่มมีการ์ตูนแนวตลกสั้น ๆ ในลักษณะ การ์ตูน 3 ช่องจบ ออกมาเพิ่ม เช่น เบบี้ หนูจ๋า ขายหัวเราะ และ มหาสนุก
ภาพยนตร์เรื่องผีสามบาท นำมาจากการ์ตูนไทยในสมัยก่อน โดยเนื้อเรื่องมีผีสามตนจากการ์ตูน 3 เล่ม เท่ากับ 3 บาท จึงตั้งชื่อว่า ผีสามบาท
ส่วนการ์ตูนไทยในลักษณะมังงะอย่างที่พบเห็นทั่วไปในปัจจุบันนั้น น่าจะมีมาไม่ถึงยี่สิบปี โดยนิตยสารการ์ตูนไทยในแนวมังงะยุคบุกเบิกได้แก่ ไทคอมมิค (Thai Comic) ของสำนักพิมพ์วิบูลย์กิจ และ เอ-คอมมิค (a-comic)
จัดประเภท

Sketch 1



